การเมืองไทย

การเมืองไทย เป็นเรื่องใกล้ตัวมากกว่าที่คิด 

การเมือง เป็นหัวใจสำคัญของการบริหารประเทศและเป็นการกำหนดนโยบายที่ส่งผลต่อประชาชนในทุกภาคส่วน รวมไปถึงการเลือกตั้งผู้นำและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มีความสามารถอย่างเหมาะสม อีกทั้งยังต้องดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สังคม และการปกครองให้เป็นไปในทางที่ดีขึ้น การเมืองยังเกี่ยวข้องกับการสร้างกฎหมาย การบริหารงานราชการ และการรับผิดชอบต่อประชาชนที่รวมไปถึงการให้ความสำคัญกับสิทธิ เสรีภาพ และความเท่าเทียมของประชาชนในสังคมอีกด้วย การเมืองจึงมีบทบาทเป็นอย่างมากในการกำหนดทิศทางของประเทศนั้นๆ ดังนั้น การเมืองไทย จึงถือเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวมากกว่าที่คิด

 

การเมืองไทยในปัจจุบัน กำลังมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น 

การเมืองไทย หลังจากที่มีการเลือกตั้งครั้งล่าสุด ประเทศไทยได้เข้าสู่ระบบการเมืองที่สภาพแวดล้อมและการเปลี่ยนทางการเมืองที่มีความหลากหลายและซับซ้อนมากยิ่งขึ้น และหลังจากการเลือกตั้งจบลงแล้วนั้น ทำให้หลายฝ่ายได้มองว่าการเลือกตั้งในครั้งนี้จะนำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงที่จะทำให้ประเทศไทยไม่เหมือนเดิมเป็นอย่างมาก มุมมองในภาพรวมนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างแน่นอนและจะถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ดี อีกทั้งยังเป็น การพัฒนาการเมืองไทย อย่างแน่นอน ไม่ใช่แค่เรื่องของนโยบายทางการเมืองแต่จะเป็นไปในทางของอุดมการณ์และจุดยืนทางการเมืองภายในสังคมด้วย 

จากผลของการเลือกตั้งในครั้งนี้ทำให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่ารัฐบาลในชุดนี้ไม่ตอบโจทย์เสียงส่วนใหญ่ ซึ่งตอนนี้เป็นเสียงของคนรุ่นใหม่ที่เพิ่มมากขึ้นหรือแม้แต่เสียงของประชาชนที่เคยสนับสนุนรัฐบาลชุดนี้มาก่อนอีกด้วย ถึงอย่างนั้นก็ยังเป็นเรื่องยากที่จะทำการ วิเคราะห์การเมืองไทยในปัจจุบัน ในตอนนี้อยู่ดี  

  แทงบอล

การพัฒนา การเมืองไทย เกี่ยวข้องกับหลายอย่างและหลายส่วน

เป็นเรื่องที่มีหลายด้านและเกี่ยวข้องกับหลายอย่าง เช่น การเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง การสร้างสถาบันทางการเมืองที่มีความเข้มแข็ง และการแก้ไขปัญหาทางการเมืองทั้งที่มีมาอย่างยาวนานและที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เป็นต้น แต่การกระทำเหล่านี้ต้องเป็นไปตามแบบแผนและ กระบวนการทางการเมืองของไทย ด้วย อาจมีแรงกระตุ้นจากความต้องการที่จะปรับปรุงการปกครองแต่เดิมให้มีความโปร่งใส ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการต่างๆ ทางการเมือง และทำให้ประชาชนเกิดความสนใจและอยากมีส่วนร่วมมากขึ้น 

การที่จะเสริมสร้างสถาบันทางการเมืองให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืนได้นั้นเป็นกระบวนการที่ต้องใช้เวลา ความพยายาม และความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคม ต้องพัฒนาหลายอย่างไปพร้อมกันเพื่อให้เกิดผลลัพธิ์ที่ดีที่สุด ซึ่งต้องให้ความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนเกี่ยวกับองค์ความรู้ของระบอบประชาธิปไตยและต้องเข้าใจ การเมืองไทยในปัจจุบันแบบสรุป เมื่อมีความรู้ความเข้าใจจะส่งผลให้ประชาชนเกิดความสนใจและอยากมีส่วนร่วมทางการเมืองมากยิ่งขึ้น ซึ่งในปัจจุบันคนรุ่นใหม่ก็หันมาให้ความสนใจการเมืองเพิ่มมากขึ้นจากเมื่อก่อนที่คิดว่าการเมืองเป็นเรื่องของผู้ใหญ่ตอนนี้ได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว ซึ่งถือเป็นสัญญาณที่ดี
  

ระบบการเมืองไทยในปัจจุบัน เป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 

ในปัจจุบันประเทศไทยถือว่าเป็นรัฐเดี่ยวซึ่งมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยโดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ประเทศไทยเป็นประชาธิปไตยแบบรัฐสภาซึ่งมีระบบการเมืองการปกครองที่เป็นแบบสากลโดยมีการใช้กันทั่วโลกแล้วแต่ประเทศ โดยในปัจจุบันนั้นมีลักษณะเป็นการเลือกตั้งผู้แทนราษฎรแบบการเลือกตั้งทั่วไป และใช้หลักการของประชาธิปไตยในรัฐสภาเพื่อใช้อำนาจในการตัดสินใจเกี่ยวกับการปกครองและการดำเนินงานของรัฐบาลชุดนั้นๆ 

ซึ่งในปัจจุบันรัฐบาลไทยเป็นผู้ใช้อำนาจในการบริหารงานต่างๆ อำนาจนิติบัญญัตินั้นขึ้นอยู่กับรัฐสภาไทยซึ่งแบ่งออกเป็น 2 สภา คือ สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ส่วนทางด้านฝ่ายตุลาการนั้นจะเป็นอิสระจากทั้งฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ โดยจะมีประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด และประธานศาลรัฐธรรมนูญเป็นประมุขส่วนตนแยกออกมาอย่างชัดเจน และถึงแม้ว่า แนวคิดทางการเมืองไทย จะแตกต่างกันไปในรัฐบาลแต่ละชุดก็ยังต้องดำเนินการบริหารตามระบบและแบบแผนอยู่ดี
  

แนวคิดทางการเมืองไทย มีหลายกระแสความคิดที่แตกต่างกัน 

แนวคิดทางการเมืองเป็นตัวกำหนดแนวทางหรือหลักการที่ใช้ในการตัดสินใจและดำเนินการทางการเมืองในประเทศของบุคคลที่สามารถใช้อำนาจเพื่อจัดสรรผลประโยชน์ให้กับสังคมได้ โดยการจัดสรรผลประโยชน์ให้กับสังคมได้อย่างเหมาะสม เป็นธรรม เท่าเทียม และยั่งยืน อีกทั้งการเมืองไม่ใช่เรื่องของคนบางกลุ่มโดยเฉพาะเจาะจง ไม่ใช่แค่เรื่องของผู้ใหญ่หรือเรื่องของคนมีอำนาจเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของประชาชนทุกคนในสังคมนั้นๆ ดังนั้น แนวคิดทางการเมืองไทย จึงมีหลากหลายทัศนคติและหลากหลายกระแสความคิดที่แตกต่างกันออกไป 

ไม่ว่าจะเป็นประชาธิปไตยที่เป็นพื้นฐานของระบบการเมืองไทย ซึ่งเน้นไปที่ความมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจกรรมทางการเมืองต่างๆ หรือจะเป็นสังคมประชาธิปไตยที่เน้นไปที่การสร้างสังคมที่ยั่งยืน โดยเน้นไปที่การส่งเสริมความเท่าเทียมและการลดความเหลื่อมล้ำรวมไปถึงการกระจายอำนาจเพื่อพัฒนาทุกภาคส่วนไปพร้อมกันสมควรและเท่าเทียม เป็นต้น แต่ถึงอย่างนั้นแนวคิดเหล่านี้ก็ยังนำมาเป็น การเมืองไทยแบบสรุป ไม่ได้อยู่ดี เพราะความคิดสามารถเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ อาจจะสรุปได้แค่ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งเท่านั้น
 

กระบวนการทางการเมืองไทย ภายหลังจากการเลือกตั้งทั่วไป 

  1. การเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรก มีการกำหนดให้มีระยะเวลาในการเรียกประชุมรัฐสภาครั้งแรกภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่มีการเลือกตั้ง เพื่อให้สมาชิกที่ได้รับเลือกจากประชาชนได้มาประชุมหารือร่วมกันเป็นครั้งแรก  
  1. การเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร หลังจากที่มีการเรียกประชุมกันในครั้งแรกแล้ว หลังจากนั้นจะต้องมีการเรียกประชุมครั้งต่อไปอีกครั้ง เพื่อทำการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร เพื่อทำหน้าที่ในการควบคุมและดำเนินการเกี่ยวกับการประชุมในครั้งต่อๆ ไปให้เป็นไปด้วยดีและเป็นไปอย่างเรียบร้อยตามระบบและแบบแผน 
  1. การพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี เมื่อเสร็จสิ้นจากการเลือกประธานสภาผู้แทนราษฎรและรองประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นที่เรียบร้อยแล้ว สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่ที่จะพิจารณาเลือกบุคคลที่จะมาเป็นนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลนี้ภายในระยะเวลา 30 วัน นับตั้งแต่มีการเรียกประชุมกันในครั้งแรก 
  1. การแถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อมีการแถลงนโยบายต่อรัฐสภาเป็นที่เรียบร้อยแล้วคณะรัฐมนตรีจะต้องจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดินเพื่อแสดงมาตรการและรายละเอียดต่างๆ รวมไปถึงแนวทางในการทำงานในแต่ละปีของวาระการทำงาน ซึ่งจะต้องสอดคล้องกันกับแนวนโยบายพื้นฐานของรัฐด้วยเช่นกัน  
  1. การแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร หลังจากที่คณะรัฐมนตรีเข้ามามีส่วนในการบริหารราชการแผ่นดินเป็นเรียบร้อยแล้ว จะมีการแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้ที่เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองที่ไม่ได้มีสมาชิกคนอื่นในพรรคได้รับเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรี ให้ขึ้นมาเป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งถือว่าเป็นการให้เกียรติกับฝ่ายเสียงข้างน้อยตามหลักการพื้นฐานในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งเป็นระบบการเมืองที่ประเทศไทยกำลังใช้อยู่ในปัจจุบัน 
  1. การตั้งกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎร การจัดตั้งกรรมาธิการสามัญเพื่อทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใดๆ ที่เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้แทนราษฎรแล้วรายงานต่อสภาผู้แทนราษฎร เพื่อความโปร่งใสในการทำงานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทุกคน 
  1. การร้องขอให้พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมหรือร่างพระราชบัญญัติต่อไปของคณะรัฐมนตรี ในกรณีที่หมดวาระของสภาผู้แทนราษฎรหรือมีการยุบสภาเกิดขึ้นภายหลังการเลือกตั้งโดยไม่ครบวาระการทำงานของสภาผู้แทนราษฎร จะมีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม หรือร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภายังไม่ให้ความเห็นชอบ 

การเมืองในแต่ละประเทศรวมไปถึงการเมืองไทยมีผลต่อทุกด้านของชีวิตประชาชนและมีผลประโยชน์ที่เกี่ยวข้องกันเป็นส่วนใหญ่ การเมืองมีผลทั้งในระดับชาติและในระดับท้องถิ่น มีการแบ่งแยกอำนาจไปตามพื้นที่ต่างๆ ผู้มีอำนาจมีการแข่งขันเพื่อความเป็นอยู่ของคนกลุ่มต่างๆ และมีการสร้างฐานและความเชื่อมั่นในส่วนของตัวผู้บริหารเอง อีกทั้งยังเป็นการต่อสู้เพื่อความเป็นอยู่และการรักษาอำนาจของคนบางกลุ่มซึ่งส่งผลต่อสิทธิและสรีภาพของประชาคนอื่นๆ ด้วย ทั้งนี้การเข้า การให้ความสนใจ และการมีส่วนร่วมกิจกรรมทางการเมืองของประชาชนส่วนใหญ่ หรือบุคคลมีชื่อเสียงสามารถทำให้เกิดการตัดสินใจทางการเมืองได้ เป็นการส่งเสริมการเลือกตั้งที่เป็นธรรม โปร่งใส และสามารถสร้างสถาบันทางการเมืองที่เข้มแข็งและโปร่งใสได้อีกด้วย ถึงแม้ว่าการเมืองจะเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนและซับซ้อนแต่ก็เป็นเรื่องที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อประชาชนทุกคน เพราะจะเป็นตัวกำหนดทิศทางและการพัฒนาด้านต่างๆ ของประเทศให้เป็นไปแบบไหน ดังนั้นการเมืองไทยจึงเป็นเรื่องที่ใกล้ตัวมากกว่าที่คิดและยังมีความสำคัญเป็นอย่างมากอีกด้วย ถ้าการเมืองดีจะช่วยส่งเสริมให้ด้านอื่นๆ ให้ดีขึ้นและทำให้สังคมมีความยั่งยืนอีกด้วย

 

เรื่องราวการเมืองที่น่าสนใจเพิ่มเติม

นโยบายสาธารณะ เพื่อประชาชนในประเทศ

การเข้าร่วมการเมือง ของประชาชนในแต่ละประเทศ

การสนับสนุนการพัฒนาทางการเมือง ในแต่ละประเทศ

รัฐบาลท้องถิ่น มีบทบทหน้าที่สำคัญ


หรือ ติดตามข่าวสารอื่นๆเพิ่มเติมได้ใน

https://lifeisforgotten.com

Releated